ประเพณียี่เป็งแห่งดินแดนล้านนา
ประเพณียี่เป็ง เป็นงานประเพณีอันยิ่งใหญ่แห่งดินแดนล้านนา หรือวันเพ็ญเดือนยี่ของชาวล้านนา (ขึ้น 15 ค่ำเดือน 2) และตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 ของภาคกลาง เป็นช่วงปลายฤดูฝน ต้นฤดูหนาว
โดยธรรมเนียมปฎิบัติของประเพณัยี่เป็ง มีทั้งการลอยกระทงในแม่น้ำ การจุดประทีปโคมลอยขึ้นไปสว่างไสวบนท้องฟ้า โดยจะมีการปล่อยโคมลอยทั้งหมด 2 เวลา คือ
เชื่อกันว่าเป็นการบูชาพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ นอกเหนือจากการลองกระทง และ จุดประทีฟโคมลอยนั้น อีกหนึ่งธรรมเนียบปฏิบัติ คือ ชาวล้านนาจะออกออกมาตกแต่งบ้านเรือน วัด และถนนหนทางต่างๆ ด้วยต้นกล้วย อ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุงช่อประทีปและชักโคมยี่เป็งแบบต่างๆ อีกด้วย
ที่ตั้ง: เชียงใหม่, ประเทศไทย
ช่วงเวลาที่ดี: ช่วงเดือนพฤศจิกายน
เพิ่มเติม: 10 ที่เที่ยวหน้าหนาวยอดฮิตของภาคเหนือที่ไปแล้วจะหนาว
Google Map:
โดยธรรมเนียมปฎิบัติของประเพณัยี่เป็ง มีทั้งการลอยกระทงในแม่น้ำ การจุดประทีปโคมลอยขึ้นไปสว่างไสวบนท้องฟ้า โดยจะมีการปล่อยโคมลอยทั้งหมด 2 เวลา คือ
- ปล่อยโคมลอยในตอนกลางวัน หรือที่เรียกว่า ว่าว โดยว่าวนั้นจะทำจากกระดาษสี แล้วใช้ความร้อนคล้ายกับการปล่อยบอลลูนขึ้นสู่ท้องฟ้า เชื่อกันว่าเพื่อปล่อยทุกข์โศกและสิ่งไม่ดีต่างๆ
- ปล่อยโคมลอยในเวลากลางคืน หรือที่เรียกว่าโคมไฟ โดยโคมไฟนั้นจะใช้ไม้พันด้ายเป็นก้อนกลม ชุบน้ำมันยางหรือน้ำมันขี้โล้แขวนปากโคม แล้วจุดไฟปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้า
เชื่อกันว่าเป็นการบูชาพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ นอกเหนือจากการลองกระทง และ จุดประทีฟโคมลอยนั้น อีกหนึ่งธรรมเนียบปฏิบัติ คือ ชาวล้านนาจะออกออกมาตกแต่งบ้านเรือน วัด และถนนหนทางต่างๆ ด้วยต้นกล้วย อ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุงช่อประทีปและชักโคมยี่เป็งแบบต่างๆ อีกด้วย
ที่ตั้ง: เชียงใหม่, ประเทศไทย
ช่วงเวลาที่ดี: ช่วงเดือนพฤศจิกายน
เพิ่มเติม: 10 ที่เที่ยวหน้าหนาวยอดฮิตของภาคเหนือที่ไปแล้วจะหนาว
Google Map:
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)